ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 : ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
เกณฑ์ข้อที่ |
ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2555 |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
1 |
มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อให้นักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่อง |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะฯ มีการจัดบริการอำนวยความสะดวกด้านเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับให้นิสิตใช้งาน จำนวน 193 เครื่อง ซึ่งติดตั้งไว้ที่ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น 8 และห้องเรียนย่อย ชั้น 2, 3 ตึก อปร. มีการจัดการระบบ Network ผ่านจุดเชื่อมต่อ Lan และผ่านระบบ Wi-Fi โดยนิสิตได้ลงทะเบียนใช้ Wi-Fi ผ่าน Notebook และ Mobile Device ในปีการศึกษา 2555 จำนวน 537 เครื่อง ดังนั้น (FTES 2,990.60 ¸ (193 + 537 = 730) = 4.10 FTFS ต่อเครื่อง) คิดเป็นอัตราการบริการคอมพิวเตอร์สำหรับนิสิต ไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่อง |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
2 |
มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นักศึกษาทุกปีการศึกษา |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะฯ มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ 2.1 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2556) 2.2.1 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หอสมุดของคณะแพทยศาสตร์ เปิดบริการเปิดทุกวันยกเว้นวันหยุดสงกรานต์และวันหยุดปีใหม่ โดยมีเวลาทำการปกติ 6 เดือน และเวลาขยายเวลาใกล้สอบ 6 เดือน ดังนี้
(1) หนังสือ ตำราแพทย์ภาษาไทย /อังกฤษ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย จำนวน 35,403 เล่ม (มีการจำหน่ายหนังสือเก่าออก) (2)หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-books) 996 ชื่อเรื่อง (3)สื่อโสตทัศนูปกรณ์ได้แก่ ซีดี 306 แผ่น เทปเสียง 3,357 ตลับ วิดีทัศน์ 801 ตลับ (4)วารสารการแพทย์ภาษาไทย 361 ชื่อเรื่อง (5)วารสารการแพทย์ภาษาอังกฤษฉบับพิมพ์ 943 ชื่อเรื่อง (6)วารสารออนไลน์ (e-journals) 2430 ชื่อเรื่อง (7)วารสารออนไลน์ฉบับย้อนหลัง (e-journals Back File) 498 ชื่อเรื่อง (8)ฐานข้อมูลต่างประเทศ 8 ฐานข้อมูลคือ Best Practice, Clinical Key, Cochrane Library, Medline Fulltext Complete, Micromedex, Procedure Consult, Springer Protocol และ Up To Date (9)ฐานข้อมูลที่หอสมุดจัดทำ และให้บริการบนอินเทอร์เน็ต 7 ฐานข้อมูล คือ 1.ฐานข้อมูลดรรชนีบทความวารสารภาษาไทยทางการแพทย์ (Thai Index Medicus) รวบรวมบรรณานุกรม พร้อมบทคัดย่อจากบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารภาษาไทยที่เลือกสรรแล้วมากกว่า 200 ชื่อเรื่อง ตั้งแต่ปีปัจจุบันย้อนหลังไปจนถึง พ.ศ. 2461 2.ฐานข้อมูลผลงานคณาจารย์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (RES) รวบรวมบรรณานุกรม ผลงานคณาจารย์ที่เผยแพร่ในหนังสือ วารสาร การประชุมวิชาการ และรายงานการวิจัย ตั้งแต่ พ.ศ. 2500 ถึงปัจจุบัน 3.ฐานข้อมูลสหรายชื่อวารสาร (UNIO) รวบรวมรายชื่อวารสาร ที่ห้องสมุดในประเทศไทย รวมทั้งหอสมุดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดซื้อไว้ให้บริการกว่า 16,000 ชื่อเรื่อง 4.ฐานข้อมูล Main Database ร่วมมือกับศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยบันทึกรายชื่อหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ที่มีให้บริการในหอสมุด คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ( http://library.car.chula.ac.th) 5.ฐานข้อมูลรายชื่อโสตทัศนวัสดุที่มีให้บริการในหอสมุดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (AUDI) 6.ฐานข้อมูลรายชื่อสิ่งพิมพ์ขององค์การอนามัยโลก (WHO Publication) ที่มีให้บริการในห้องสมุดต่างๆ ในประเทศไทย รวมทั้งหอสมุดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมายเหตุ ฐานข้อมูลลำดับที่ 5 – 6 อยู่ระหว่างถ่ายโอนเข้าฐาน Main Database ของศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (10) ฐานข้อมูลที่จัดซื้อโดยศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Reference Databases) และสำนักงานการอุดมศึกษา (ThaiLIS) หอสมุดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลที่จัดซื้อโดย 2 หน่วยงานข้างต้น เฉพาะที่เกี่ยวข้องทางการแพทย์ จำนวน 15 ฐานข้อมูล บริการหอสมุดผ่านระบบเครือข่ายตลอด 24 ชั่วโมงที่ http://library.md.chula.ac.th/inde.php 2.2บริการบทเรียนเผยแพร่แบบออนไลน์ที่ http://e-learning.md.chula.ac.th มีจำนวน 692 บทเรียน ประกอบด้วย VDO ภาควิชาอายุรศาสตร์ 91 เรื่อง และบทเรียนซึ่งแยกตามชั้นปีจำนวน 601 เรื่อง 2.3 จัดฝึกอบรมการสืบค้นข้อมูลและการเขียนรายการอ้างอิง โดยใช้โปรแกรม Endnote x 4 ให้นิสิตแพทย์ทุกปีการศึกษา (ภาควิชา กรอกข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี))
>>> เอกสารอ้างอิง 2.5-2.1 // เอกสารอ้างอิง 2.5-2.2 // เอกสารอ้างอิง 2.5-2.3 // |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
3 |
มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา อย่างน้อยในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะฯ มีการบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา ด้านห้องเรียนมี
1.1 ห้องเรียนขนาด 500 ที่นั่ง จำนวน 1 ห้อง 1.2 ห้องเรียนขนาด 360 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 1.3 ห้องเรียนขนาด 222 ที่นั่ง จำนวน 1 ห้อง 1.4 ห้องเรียนขนาด 100 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 1.5 ห้องเรียนขนาด 80 ที่นั่ง จำนวน 1 ห้อง 1.6 ห้องเรียนขนาด 70 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 1.7 ห้องเรียนขนาด 60 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 1.8 ห้องเรียนขนาด 50 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 1.9 ห้องเรียนขนาด 30 ที่นั่ง จำนวน 8 ห้อง 1.10 ห้องเรียนขนาด 20 ที่นั่ง จำนวน 17 ห้อง 1.11 ห้องแล็ปขนาด 30 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง
2.1 ห้องเรียนขนาด 222 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 2.2 ห้องเรียนขนาด 60 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 2.3 ห้องเรียนขนาด 55 ที่นั่ง จำนวน 1 ห้อง 2.4 ห้องเรียนขนาด 50 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 2.5 ห้องเรียนขนาด 40 ที่นั่ง จำนวน 1 ห้อง 2.6 ห้องเรียนขนาด 18 ที่นั่ง จำนวน 1 ห้อง
3.1 ห้องเรียนขนาด 312 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 3.2 ห้องเรียนขนาด 81 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 3.3 ห้องเรียนขนาด 48 ที่นั่ง จำนวน 6 ห้อง 3.4 ห้องเรียนขนาด 36 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง 3.5 ห้องเรียนขนาด 30 ที่นั่ง จำนวน 3 ห้อง 3.6 ห้องเรียนขนาด 24 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง คณะฯ มีการปรับปรุงห้องเรียน/ห้องประชุมเพื่อรองรับจำนวนนิสิตที่เพิ่มขึ้น โดยทำการปรับปรุงห้อง229/1 และห้อง230/1 อาคารแพทยพัฒน์ เป็นห้องละ 312 ที่นั่ง 2. มีศูนย์พัฒนาทักษะทางคลินิก (Clinical Skill Center) จัดบริการหุ่นสำรองสำหรับให้นิสิตฝึกหัตถการ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
(ภาควิชา กรอกข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี)) - ภาควิชาฯ มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานิสิต เช่น มีห้องเรียนที่ทันสมัยได้รับรางวัลบ้านน่าอยู่จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2553 มีห้องปฏิบัติการ Microsurgery ณ ตึก จส.7 และมีอุปกรณ์การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สายที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ในตึก - สามารถ download เอกสารประกอบการสอนผ่าน Website ภาควิชา มีสื่อการสอน VCD เพื่อให้นิสิตสามารถทบทวนความรู้ได้ตลอดเวลา มีการนำระบบบันทึกการเรียนการสอน และนำมาใส่ไว้ใน Website ภาควิชาเพื่อนิสิตสามารถเข้ามาทบทวนหรือติดตามบทเรียนได้ตลอดเวลาทั้งในและนอกสถานที่ >>> เอกสารอ้างอิง 2.5-3.1 // เอกสารอ้างอิง 2.5-3.2 // |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
4 |
มีบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงานทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหาร และสนามกีฬา |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะฯ มีบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นดังนี้ 4.1 งานทะเบียนนิสิตผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คณะฯ จัดให้มีคอมพิวเตอร์ 210 เครื่อง ในการอำนวยความสะดวกให้กับนิสิต 4.2 การบริการอนามัยและรักษาพยาบาล นิสิตสามารถใช้บริการที่ศูนย์สุขภาพแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคารจามจุรี 9 ชั้น 2 และที่ แผนกเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม ตึก ภปร. ชั้น 2 4.3 การบริการด้านอาหาร - มีร้านอาหารสำหรับบริการนิสิตและบุคลากรอยู่จำนวน 5 แห่ง คือ โรงอาหารตึกไผ่สิงโต, โรงอาหารตึก อปร., ศูนย์อาหารชั้นล่าง อาคารจอดรถ, ตึก สก. ชั้น 11, หลังตึกธนาคารไทยพาณิชย์ และห้องอาหารสวัสดิการ 4.4 การบริการด้านกีฬาและออกกำลังกาย คือ - สนามแบดมินตัน 1 สนาม - สนามบาสเก็ตบอล 1 สนาม - สนามฟุตซอล 1 สนาม - สนามกีฬาอเนกประสงค์ ชั้น 14 อาคารหอพัก - สถานที่ออกกำลังกาย (Wellness center ) ชั้น 6 ตึก อปร. (ภาควิชา กรอกข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี))
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
5 |
มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่างๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะฯ มีวิธีการกำจัดสารเคมีภายในอาคาร 1. เก็บจากภาควิชา/หน่วยงาน ทุกวันอังคาร และวันพฤหัส วันละสองรอบ รอบเช้า 10.30 น. รอบบ่าย 14.30 น. เพื่อนำมาไว้ที่ชั้นใต้ดินและดำเนินการแจ้งให้ทางคณะวิทยาศาสตร์เข้ามาเก็บเดือนละครั้ง 2. จำนวนของสารเคมีที่เก็บในแต่ละเดือนมีดังต่อไปนี้
คณะฯ มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่อง ประปา ไฟฟ้า ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะรวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่างๆ 1. มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจำอาคารของหอพักนิสิตแพทย์และอาคารสำนักงาน 2. มีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยอาคารสูงและอาคารสำนักงาน 3. มีระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ 4. การกำจัดปลวกและแมลง ทำการฉีดปลวกและแมลง ทุกๆ เดือน ผลัดเปลี่ยนตามวันและเวลาของแต่ละอาคาร ดังนี้
(ภาควิชา กรอกข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี)) มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารโดยการติดตั้งกล้องวงจรปิด สามารถดูผ่านระบบเครือข่าย มีการติดตั้งระบบปิด-เปิดประตูด้วยการ scan ลายนิ้วมือเพื่อเพิ่มความปลอดภัย รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่าง ๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง >>> เอกสารอ้างอิง 2.5-5.1 // เอกสารอ้างอิง 2.5-5.2 // เอกสารอ้างอิง 2.5-5.3 // |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
6 |
มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ 2 – 5 ทุกข้อไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยวิจัยสถาบันได้มีการประเมินความพึงพอใจของแพทย์ประจำบ้านและนิสิตปริญญาโทปริญญาเอกในด้าน Resource และ Knowledge management ในปีการศึกษา 2554 ซึ่งในแบบสอบถามได้ถามเกี่ยวกับ
มีผู้ตอบแบบสอบถามในกลุ่มแพทย์ประจำบ้านทั้งสิ้น 321 คน จากจำนวนทั้งหมด 541 คน คิดเป็นร้อยละ 59.3 สำหรับกลุ่มนิสิตปริญญาโทเอก มีผู้ตอบแบบสอบถาม 151 คน จากทั้งหมด 294 คน คิดเป็นร้อยละ 51.4 ค่าคะแนนความพึงพอใจ ที่ได้จากการสำรวจในกลุ่มแพทย์ประจำบ้านคือ 3.7 คะแนน ในกลุ่มนิสิตปริญญาโท เอก คือ 3.9 คะแนน สำหรับในปีการศึกษา 2555 อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลและประมวลผล (ภาควิชา กรอกข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี) อ้างอิงคณะแพทยศาสตร์ โดยมีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ 2 – 5 ทุกข้อเท่ากับ 3.50 จากคะแนนเต็ม 5 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ เกณฑ์ข้อที่ 2 มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นักศึกษา ทุกปีการศึกษา เกณฑ์ข้อที่ 3 มีการจัดกิจกรรเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษา เกณฑ์ข้อที่ 4 มีการบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงานทะเบียน นักศึกษาผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหาร และสนามกีฬา เกณฑ์ข้อที่ 5 มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบอย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่างๆ โดย เป็นไปตามกฏหมายที่เกี่ยวข้อง |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
7 |
มีการนำผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพที่สนองความต้องการของผู้รับบริการ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาควิชามีการประชุมเพื่อวางแผน และดำเนินงานตามผลการประเมินจากหน่วยวิจัยสถาบัน และภายหลังการรับตรวจประกันคุณภาพ QA โดยผ่านการประชุมภาควิชาฯ ครั้งที่ 3/2555 วันพุธที่ 1 สิงหาคม2555 วาระที่ 3.6 ผลสำรวจความพึงพอใจของบัณฑิตแพทย์ และผู้ใช้บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2553-2554 |
หลักฐานอ้างอิง
2.5-1.1 /ข้อมูลจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง/
2.5-1.2 ค่า FTES ของภาควิชาออร์โธปิดิกส์
2.5-2.1 Website ภาควิชาฯ
2.5-2.2 /สื่อการเรียนการสอนภาควิชาฯ/
2.5-2.3 //ระบบ Internet , WIFI ภาควิชาฯ
2.5-3.1 / ระบบเครือข่าย/
2.5-3.2 //ระบบฐานข้อมูล
2.5-4.1 เป็นไปตามมาตรฐานของคณะแพทยศาสตร์ และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
2.5-5.1 MTOS ออร์โธปิดิกส์ 2555
2.5-5.2 /ระบบกล้องวงจรปิด/
2.5-5.3 ระบบปิด-เปิดประตูด้วยการ scan ลายนิ้วมือ
2.5-6.1 /RES ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ ประจำปี 2555
2.5-6.2 รายงานประกันคุณภาพประจำปี 2555
2.5-7.1 /รายงานผลการประเมินการภายหลังการตรวจเยี่ยม/
2.5-7.2. รายงานการประชุมภาควิชา ครั้งที่ 3/2555 วันพุธที่ 1 สิงหาคม 2555