ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 : อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

     

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 : อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

 

เกณฑ์การประเมิน : สถาบันสามารถเลือกใช้เกณฑ์การประเมินจาก 2 แนวทางต่อไปนี้

  1. แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5

หรือ

           2)     แปลงค่าการเพิ่มขึ้นของค่าร้อยละของอาจารย์ประจำ ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5

1. เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1

     1)  ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรือ

     2)     ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12

           ขึ้นไป

สูตรการคำนวณ :

หมายเหตุ :

1. คุณวุฒิปริญญาเอก พิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรือเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีที่มีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการสำเร็จการศึกษาภายในรอบปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ อาจใช้คุณวุฒิอื่นแทนคุณวุฒิปริญญาเอกได้สำหรับกรณีที่บางสาขาวิชาชีพ มีคุณวุฒิอื่นที่เหมาะสมกว่า ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา

2. การนับจำนวนอาจารย์ประจำ ให้นับตามปีการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ ในกรณีที่มีอาจารย์บรรจุใหม่ให้คำนวณตามเกณฑ์อาจารย์ประจำที่ระบุในคำชี้แจง เกี่ยวกับการนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ หน้า 34 ดังนี้

                อาจารย์ประจำ หมายถึง ข้าราชการ พนักงานและบุคลากรที่มีสัญญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษาทั้งปีการศึกษา ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา

                นักวิจัยประจำ หมายถึง ข้าราชการ หรือพนักงานหรือบุคลากรที่มีสัญญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษาทั้งปีการศึกษา ที่มีตำแหน่งเป็นเจ้าหน้าที่วิจัยหรือนักวิจัย

                การนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ ให้นับระยะเวลาการทำงาน ดังนี้

9-12  เดือน                                                  คิดเป็น 1   คน (บรรจุก่อน 1 กันยายน 2556)

6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน                                คิดเป็น 0.5   คน (บรรจุก่อน 1 ธันวาคม 2556)

                             น้อยกว่า 6 เดือน                                       ไม่สามารถนำมานับได้(บรรจุหลัง 1 ธันวาคม 2556)

 

ผลการดำเนินงาน

 

รายการ

ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2556

 

02.12 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ

9

คน

 

02.13 จำนวนอาจารย์ประจำที่ลาศึกษาต่อ

0

คน

 

02.14 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

0

คน

 

02.15 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่า

0

คน

 

02.16 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า

9

คน

ผลการประเมิน

ตัวบ่งชี้ 2.2

เป้าหมาย *

ผลการดำเนินงาน

คะแนนการประเมิน

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

100

100

5

หมายเหตุ

1. ให้ระบุเป้าหมายเป็นตัวเลขที่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ใช้ประเมินสำหรับตัวบ่งชี้นั้นๆ เช่น ระบุเป็นค่าร้อยละ

     ผลการดำเนินงาน=   (02.16 ÷ 02.12 ) x 100

                 แทนค่า        =       (.........9.......... ÷ ........9...........) x 100 = ร้อยละ…100……

       คะแนนการประเมิน   = ผลการดำเนินงาน (.......100..............) x 5 ÷ 60     = ………8……….คะแนน

 

ข้อมูลสำหรับปีนี้

เป้าหมาย

 ok บรรลุเป้าหมาย               nok ไม่บรรลุเป้าหมาย

 
   

คะแนนการประเมินปีที่แล้ว

5

 
 

เป้าหมายที่ตั้งไว้ปีที่แล้ว

100

 
 

ข้อมูลสำหรับปีหน้า

เป้าหมายปีต่อไป (ระบุเป็นข้อ)

100

 
 

จุดเด่น

  1. อาจารย์ทุกท่านจบการศึกษาเทียบเท่าระดับปริญญาเอก และได้วุฒิบัตรในวิชาชีพ
  2. อาจารย์มีความสามารถในด้านการผ่าตัดรักษาผู้ป่วยเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

จุดที่ควรพัฒนา

  1. สนับสนุนให้อาจารย์ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก (Ph.D.)
  2. สนับสนุนงานวิจัยแพทยศาสตร์ศึกษาให้มากขึ้น

แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาในปีต่อไป

   แผนการดำเนินงาน

  1. เชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติเป็นอาจารย์พิเศษ
  2. ส่งเสริมให้อาจารย์ไปเป็นวิทยากรเพื่อให้ความรู้แก่แพทย์ประเทศในกลุ่มอาเซียน (AEC)

หลักฐานอ้างอิง