ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 : ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

 

ดำเนินการ 1 ข้อ

ดำเนินการ 2 ข้อ

ดำเนินการ 3 ข้อ

ดำเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

ดำเนินการ 5 ข้อ และ ข้อ 6

 

ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2556

(ให้รายงานสิ่งที่ได้ดำเนินการไปแล้วในรอบปีการศึกษา ตามที่เกณฑ์กำหนด โดยระบุกิจกรรม บุคคล วัน เวลา สถานที่ให้ชัดเจน)

 

1.มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

 
  • ภาควิชาฯ มีคู่มือระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ภาควิชาฯ ใช้ระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติของฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • มี Research Board เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในระดับต่างๆ ทั้งติดประกาศและฐานข้อมูลภาควิชา
  • จำนวนผลงานวิจัยที่ภาควิชามีการเผยแพร่ในที่ประชุมฯ  จำนวน 7 ผลงานวิจัย
  • มี Board ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานวิจัยของแพทย์ประจำบ้านทุกชั้นปี
 

2.มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็น

องค์ความรู้ที่คนทั่วไปเข้าใจได้ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

 
  • ภาควิชาฯ มีระบบกลไกรวบรวม คัดสรร และวิเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อใช้เป็นองค์ความรู้ที่เข้าใจได้ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด โดยมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ตัวอย่าง เช่น   การเปรียบเทียบการใช้โฟร์สกอร์กับกลาสโกว์โคมาสเกลในการประเมินผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจที่ห้องฉุกเฉิน โดย รศ.นพ.สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล
  • จัดทำ Website ให้ความรู้เรื่องโรคทางออร์โธปิดิกส์ เช่น www.orthochula.com, thaispinecenter.com, thaispinesurgeon.com,thaisportmed.org และ thaibonetumor.org
 

3.มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สู่สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง

 

งานวิจัยของภาควิชาที่มีการรวบรวม สังเคราะห์ให้เป็นความรู้ที่ให้ประชาชนทั่วไปเข้าใจนั้น ได้นำมาเผยแพร่ ดังนี้

  • Website ให้ความรู้เรื่องโรคทางออร์โธปิดิกส์ เช่น www.orthochula.com, thaispinecenter.com, thaispinesurgeon.com,thaisportmed.org และ thaibonetumor.org
  • จัดทำแผ่นพับตารางการออกตรวจแพทย์เพราะสาขา เพื่อให้ผู้มารับบริการทราบ
  • การให้ความรู้ผู้ป่วยในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในขณะทำการตรวจ และการทำกิจกรรมในวันสำคัญของชาติ
    • ภาควิชาฯ มีฐานข้อมูลวิจัย มี Website งานวิจัย  http://orthochula.md.chula.ac.th/research ในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ สู่สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง
    • มี Research Board ในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัย
    • มีกิจกรรม Journal Club เป็นประจำ 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยเน้นให้สามารถอ่านวรรณกรรมอย่างมีวิจารณญาณทำให้เกิดการเรียนรู้กระบวนการการวิจัยอย่างถูกต้อง
 

4.มีการนำผลงานงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือชุมชน

 
  • ภาควิชาฯ นำผลงานวิจัยทำเป็นนิทรรศการเพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป จำนวน 10 เรื่อง
  • ภาควิชาฯ มีการนำผลงานงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ในด้านการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคทางออร์โธปิดิกส์ ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
  • มีการเผยแพร่ข้อมูลสาขาย่อยต่างๆ ผ่าน website ภาควิชาฯ เช่น
  1. www.orthochula.com เพื่อเป็นสื่อกลางในการให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป และผู้สนใจเกี่ยวกับการเรื่องโรคข้อเข่าและข้อสะโพก
  2. www.thaispinecenter.com เพื่อเป็นสื่อกลางในการให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป และผู้สนใจเกี่ยวกับการเรื่องโรคปวดหลัง
  3. www.thaisportmed.org เพื่อเป็นสื่อกลางในการให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป เรื่อง โรคที่เกิดจากการเล่นกีฬา
  4. www.thaibonetumor.org เพื่อเป็นสื่อกลางในการให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป เรื่อง โรคเนื้องอกกระดูก
  • มีคู่มือขั้นตอนการจัดเตรียมคำขอรับสิทธิบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไว้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม
 

5.มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

 

        ฝ่ายวิจัย มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด โดยมีระบบประสานงานกับสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อดำเนินการทางกฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิ เช่น สิทธิบัตร ก่อนการดำเนินการกับภาคเอกชน

(ภาควิชา กรอกข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี))

อ้างอิงข้อมูลคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

6.มีระบบและกลไกส่งเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และมีการยื่นจดสิทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร

(เฉพาะกลุ่ม ค1)

 

        สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานหลักในการทำหน้าที่ให้คำปรึกษาและช่วยเหลือในการจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ และติดต่อเจรจากับผู้สนใจนำเทคโนโลยีหรือผลงานวิจัยไปพัฒนาสินค้า

         ฝ่ายวิจัย มีการประสานงานกับสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการดำเนินการทางกฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิ เช่น สิทธิบัตร ก่อนการดำเนินการกับภาคเอกชน

(ภาควิชา กรอกข้อมูล (ถ้ามี))

อ้างอิงข้อมูลคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 
 

ผลการประเมิน

 
 

ตัวบ่งชี้ 4.2

เป้าหมาย * (ข้อ)

ผลการดำเนินงาน

คะแนนการประเมิน

 
 

ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

6

6

5

 
 

หมายเหตุ

       * ให้ระบุค่าเป็นจำนวนข้อที่หน่วยงานได้ตามเป้าหมาย หรือคาดหวังว่าจะสามารถดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน

 
 

ข้อมูลสำหรับปีนี้

เป้าหมาย

 ok บรรลุเป้าหมาย          nok ไม่บรรลุเป้าหมาย

 
   

คะแนนการประเมินปีที่แล้ว

5

 
 

เป้าหมายที่ตั้งไว้ปีที่แล้ว

6

 
 

ข้อมูลสำหรับปีหน้า

เป้าหมายปีต่อไป (ระบุเป็นข้อ)

6

 
 

จุดเด่น

  1. มีอาจารย์ได้รับการศึกษาด้านระเบียบวิธีวิจัยเป็นอย่างดี 4 ท่าน สามารถที่จะส่งเสริมงานวิจัยของภาควิชาฯ ได้เป็นอย่างดี
  2. ภาควิชาฯ มีการวิจัยจาก cadaver ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. มีฐานข้อมูลสำหรับงานวิจัย ที่ทันสมัย
  4. มีเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการส่งไปฝึกอบรม SPSS สามารถช่วยในเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูล

จุดที่ควรพัฒนา

  1. ควรมีการกำหนดเป้าประสงค์ตามเวลาในการพัฒนาอาจารย์ในสาขาที่ยังไม่มีอาจารย์ผู้สนใจศึกษาและพัฒนาในทางลึกเพื่อให้ได้มาซึ่งงานวิจัยเพื่อพัฒนาในอนาคต
  2. จำนวนอาจารย์ต่อจำนวนแพทย์ประจำบ้านยังขาดความเหมาะสม ทางคณะฯควรให้การสนับสนุนให้มีจำนวนอาจารย์ในสาขาต่างๆให้ครบตามหลักสูตร
  3. ควรจัดให้มีการจัดการความรู้ครอบคลุมทุกๆ ด้าน

แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาในปีต่อไป

   แผนการดำเนินงาน

  1. กำหนดเป้าประสงค์ตามเวลาในการพัฒนาอาจารย์ในสาขาที่ยังไม่มีอาจารย์ผู้สนใจศึกษาและพัฒนาในทางลึก
  2. เพิ่มจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติควรได้รับการส่งเสริมให้มีมากขึ้น

หลักฐานอ้างอิง

  

 

4.2-1.4              ฐานข้อมูลงานวิจัยเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในระดับต่างๆ

4.2-2.2             www.orthochula.com, thaispinecenter.com, thaispinesurgeon.com,thaisportmed.org และ thaibonetumor.org

4.2-3.2             ฐานข้อมูลวิจัยของภาควิชาออร์โธปิดิกส์

4.2-3.3             Website งานวิจัย http://orthochula.md.chula.ac.th/research ในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัย

4.2-4.1     นิทรรศการเพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป จำนวน 10 เรื่อง

4.2.4.2   Website วิชาการ  http://www.orthochula.com เข่าและข้อสะโพก 

 

 
Attachments:
File
Download this file (4.2-1.1 คู่มือระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ภาควิชาออร์โธปิด~.pdf)4.2-1.1 คู่มือระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ภาควิชาออร์โธปิด~.pdf
Download this file (4.2-1.2  ระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุ~.pdf)4.2-1.2 ระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุ~.pdf
Download this file (4.2-1.3 ผลงานวิจัยตีพิมพ์ประจำปี พ.ศ.2556.pdf)4.2-1.3 ผลงานวิจัยตีพิมพ์ประจำปี พ.ศ.2556.pdf
Download this file (4.2-1.5 Board ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานวิจัยของแพทย์ประจำบ้านทุกชั้~.pdf)4.2-1.5 Board ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานวิจัยของแพทย์ประจำบ้านทุกชั้~.pdf
Download this file (4.2-1.5 การส่งบุคลากรสายสนับสนุนไปเรียนรู้โปรแกรมช่วยงานวิจัย.pdf)4.2-1.5 การส่งบุคลากรสายสนับสนุนไปเรียนรู้โปรแกรมช่วยงานวิจัย.pdf
Download this file (4.2-2.1 ระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจั~.pdf)4.2-2.1 ระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจั~.pdf
Download this file (4.2-3.1 แผ่นพับตารางการออกตรวจแพทย์เพราะสาขา เพื่อให้ผู้มารับบริการทราบ.pdf)4.2-3.1 แผ่นพับตารางการออกตรวจแพทย์เพราะสาขา เพื่อให้ผู้มารับบริการทราบ.pdf
Download this file (4.2-3.4 Research Board ในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัย ณ~.pdf)4.2-3.4 Research Board ในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัย ณ~.pdf
Download this file (4.2-4.3  คู่มือขั้นตอนการจัดเตรียมคำขอรับสิทธิบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไว~.pdf)4.2-4.3 คู่มือขั้นตอนการจัดเตรียมคำขอรับสิทธิบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไว~.pdf
Download this file (4.2-5.1 การคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.PDF)4.2-5.1 การคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.PDF
Download this file (4.2-6.1  หนังสือรับรองการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของผลงานวิจัยภาควิชาออร์โ~.pdf)4.2-6.1 หนังสือรับรองการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของผลงานวิจัยภาควิชาออร์โ~.pdf
Download this file (4.2-6.2  คู่มือการหา Impact Factor ของวารสาร.PDF)4.2-6.2 คู่มือการหา Impact Factor ของวารสาร.PDF