ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 : อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ



ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 : อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

เกณฑ์การประเมิน : สถาบันสามารถเลือกใช้เกณฑ์การประเมินจาก 2 แนวทางต่อไปนี้

  1. อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5

หรือ

  1. อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5

1.เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1

       1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์รวมกันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30

                ขึ้นไป หรือ

           2)     ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกันเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา

                 ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป

หมายเหตุ :

1. การนับจำนวนอาจารย์ประจำ         ให้นับตามปีการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ

2. คณะสามารถเลือกประเมินตามเกณฑ์การประเมินแนวทางใดแนวทางหนึ่งก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเลือกเหมือนกับสถาบัน

ผลการดำเนินงาน

รายการ

ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2556

02.12 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ

9

คน

02.17 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่ไม่มีตำแหน่งวิชาการ

0

คน

02.18 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่มีตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์

0

คน

02.19 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์

8

คน

02.20 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์

1

คน

ผลการประเมิน

ตัวบ่งชี้ 2.3

เป้าหมาย *

ผลการดำเนินงาน

คะแนนการประเมิน

 

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

100

100

5

 

หมายเหตุ

1. ให้ระบุเป้าหมายเป็นตัวเลขที่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ใช้ประเมินสำหรับตัวบ่งชี้นั้น ๆ เช่น ระบุเป็นค่าร้อยละ

       ผลการดำเนินงาน=   (02.19 + 02.20 ) ÷   02.12 x 100

                 แทนค่า        =     (........8........... + ........1...........) x 100 ÷ .......9............ ร้อยละ…100……

       คะแนนการประเมิน   = ผลการดำเนินงาน (......100..........) x 5 ÷ 30 = ……16.66………….คะแนน

 

ข้อมูลสำหรับปีนี้

เป้าหมาย

 ok บรรลุเป้าหมาย          nokไม่บรรลุเป้าหมาย

 
 

คะแนนการประเมินปีที่แล้ว

5

 

เป้าหมายที่ตั้งไว้ปีที่แล้ว

100

 

ข้อมูลสำหรับปีหน้า

เป้าหมายปีต่อไป (ระบุเป็นข้อ)

100

 

จุดเด่น

  1. อาจารย์ประจำภาควิชาฯ เป็นผู้มีความรู้ ความชำนาญ ในสาขาออร์โธปิดิกส์ และมีการพัฒนา แสวงหาความร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญในระดับนานาชาติ
  2. คณาจารย์ส่วนใหญ่มีผลงานทางวิชาการและงานวิจัยเพื่อสามารถใช้ประกอบการขอตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น

จุดที่ควรพัฒนา

  1. สนับสนุนให้อาจารย์ประจำภาควิชาฯ สังกัดคณะแพทยศาสตร์และสภากาชาดไทย ให้ดำเนินการขอตำแหน่งทางวิชาการตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาในปีต่อไป

   แผนการดำเนินงาน

  1. สนับสนุนให้อาจารย์ประจำภาควิชาฯ ยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการตามกรอบระยะเวลา
  2. พัฒนาระบบฐานข้อมูล และหน่วยวิจัยเพื่อช่วยการวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตผลงานวิชาการและใช้สำหรับการขอตำแหน่งทางวิชาการ
  3. สนับสนุนทุน ให้รางวัลแก่อาจารย์ที่ผลงานวิจัยได้ลงตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

หลักฐานอ้างอิง